
"The project 'Infrared and Terahertz Free Electron Laser Laboratory to Strengthen the Research Ecosystem in Thailand' received funding support from NRCT Program 5: Promotion of Frontier Research and Basic Research in Areas Where Thailand Has Potential for the Fiscal Year 2022, and from Chiang Mai University for the Fiscal Years 2021-2022."
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาและจัดตั้งห้องปฏิบัติการวิจัยด้านเครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอนเชิงเส้นและเลเซอร์ความไวสูงย่านอินฟราเรดและเทราเฮิรตซ์ ขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทยและในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมุ่งเน้นในการพัฒนาสถานีทดลองเพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัยขั้นแนวหน้าและอุตสาหกรรมในอนาคต จุดเด่นของผลผลิตของโครงการ ได้แก่ ระบบเครื่องเร่งอิเล็กตรอนและสถานีผลิตเลเซอร์อิเล็กตรอนอิสระย่านอินฟราเรดช่วงกลางและเทราเฮิรตซ์ และระบบเทราเฮิรตซ์สเปกโทรสโกปีโดเมนเวลา ความสำเร็จดังกล่าวนับเป็นก้าวสำคัญที่แสดงให้เห็นว่านักวิจัยไทยสามารถสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางด้านนี้ได้เองเป็นครั้งแรกในประเทศ โดยการทำงานร่วมกันอย่างทุ่มเทของทีมนักวิจัย นักศึกษา และหน่วยงานความร่วมมือที่เกี่ยวข้อง ผลผลิต (Output): เครื่องมือและโครงสร้างพื้นฐาน (Facilities and Infrastructure): 1 ห้องปฏิบัติการวิจัย เทคโนโลยีต้นแบบ (Prototype) ระดับ TRL4 ระบบเทราเฮิรตซ์สเปกโทรสโกปีโดเมนเวลา (THz time-domain spectroscopy system) แม่เหล็กสี่ขั้ว (Quadrupole…
Interesting Research Articles in 2023
รวบรวมมาให้แล้ว กับบทความวิจัยที่น่าสนใจในปี 2023 ที่ถูกตีพิมพ์ลงใน 4 วารสารที่ได้รับความนิยม ไม่ว่าจะเป็นวารสารจาก application and materials science, particles, Nuclear Instruments and Methods in Physics Research Section B: Beam Interactions with Materials and Atoms และ Journal of…
Seminar on Particle Accelerators and Applications in Thailand
ระหว่างวันที่ 24-25 พฤศจิกายน 2566 กลุ่มภารกิจการพัฒนา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมด้านกำลังคนและสถาบันความรู้ (O-Brain) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ภายใต้โครงการ “ศึกษาแนวทางการพัฒนาองค์ความรู้ กำลังคนและสถาบันความรู้เพื่อออกแบบกลไกการดำเนินงานให้บรรลุหมายความสำเร็จในงานวิจัยระดับขั้นแนวหน้าที่จะยกระดับให้ประเทศก้าวหน้าล้ำยุคในด้านเทคโนโลยีควอนตัม เทคโนโลยีด้านฟิสิกส์พลังงานสูง และฟิสิกส์พลาสมาและเทคโนโลยีเกี่ยวกับโลกและอวกาศ” ร่วมกับ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) และสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จัดงานประชุมสัมมนาเรื่อง “เครื่องเร่งอนุภาคและการประยุกต์ใช้ในประเทศไทย” (Seminar on Particle Accelerators…
Advanced Engineering Workshop V
รศ.ดร.ดวงมณี ว่องรัตนะไพศาล ผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์ ร่วมด้วย ผศ.ดร.สาคร ริมแจ่ม หัวหน้าโครงการวิจัย และ น.ส.พิชญาภัค กิติศรี นักวิจัยในโครงการ ได้เดินทางไปร่วมการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง ครั้งที่ 5 (Advanced Engineering Workshop V) จัดโดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สทน.) และสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)…
The Center of Excellence in Physics, along with a team of experts under the Center for Electron Accelerators and Infrared/Terahertz Free Electron Laser Experts, to strengthen Thailand's frontier research ecosystem, welcomes particle accelerator system and application experts from Kyoto University.
วันที่ 7 กันยายน 2566 รศ.ดร.ดวงมณี ว่องรัตนะไพศาล รักษาการแทนผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์ พร้อมทีมผู้เชี่ยวชาญภายใต้ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญด้านเครื่องเร่งอิเล็กตรอนและเลเซอร์อิสระย่านอินฟราเรด/เทร่าเฮิรตซ์ เพื่อเสริมแกร่งระบบนิเวศการวิจัยขั้นแนวหน้าของประเทศไทย ให้การต้อนรับ Professor Hideaki Ohgaki ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบเครื่องเร่งอนุภาคและการประยุกต์ใช้งาน จาก Kyoto University ณ ห้องปฏิบัติการวิจัยเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น และเยี่ยมชมสถานีทดลองด้านเครื่องเร่งอิเล็กตรอนฯ รวมทั้งหารือเพื่อสร้างความร่วมมือในการพัฒนาระบบโพรงแสง (optical cavity) สำหรับผลิตแสงเลเซอร์อิเล็กตรอนอิสระย่านอินฟราเรดขั้นกลาง (MIR-FEL) โดย ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญด้านเครื่องเร่งอิเล็กตรอนและเลเซอร์อิสระย่านอินฟราเรด/เทร่าเฮิรตซ์ เป็นกิจกรรมภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมของสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ภายใต้การผลักดันของศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์เพื่อเสริมแกร่งระบบนิเวศการวิจัยขั้นแนวหน้าของประเทศไทย มุ่งสู่การยกระดับการศึกษาวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ระดับแนวหน้า…
Researchers from PCELL, in collaboration with NARIT, participated in a research project at the Institute of Low Temperature Science, Hokkaido University, Japan.
ในระหว่างวันที่ 14-18 สิงหาคม 2566 นักวิจัยจากห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับนักวิจัยจากสถาบันวิจัยดาราศาสตรแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ในโครงการการศึกษาโครงสร้างการเกิดและอันตรกิริยาระหว่างโมเลกุลของโมเลกุลไฮโดรคาร์บอนและโมเลกุลอินทรีย์ในอวกาศ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมดำเนินงานวิจัยในหัวข้อ Cold surface Experiments of Interstellar Complex Molecules ณ Institute of Low Temperature Science, Hokkaido University ประเทศญี่ปุ่น การเข้าร่วมดำเนินงานวิจัยในครั้งนี้ ได้แลกเปลี่ยนความรู้ทางด้านการทดลองที่อุณหภูมิต่ำ สำหรับการจำลองสภาวะเสมือนจริงบนอวกาศหรือ…
Researchers from PCELL participated in the Level 1 Radiation Protection Training Program (PONG 1) at the National Nuclear Technology Institute.
From August 7-11, 2023, researchers from the Linear Electron Accelerator Laboratory participated in the Level 1 Radiation Protection Training Program (PONG 1) at the Training Room, Particle Accelerator Building, Radiation Center, National Nuclear Technology Institute, Khlong Ha, Khlong Luang, Pathum Thani (Technothani). The training aimed to enhance skills and efficiency in handling tasks related to radiation use from radiation generators, promote knowledge and understanding of radiation protection from equipment and linear electron accelerator systems, and qualify participants to take the examination for high-level radiation generator radiation safety officer licenses.
The students and faculty from PCELL participated in training at the 6th International School on Beam Dynamics and Accelerator Technology (ISBA23).
ในระหว่างวันที่ 3 - 12 สิงหาคม 2566 นักศึกษาบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาฟิสิกส์ (ระดับปริญญาเอก) ภาควิชาฟิสิกส์และวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จากห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น (PCELL) เข้าร่วมอบรมระยะสั้น (the 6th International school on Beam Dynamics and Accelerator Technology (ISBA23) https://conference-indico.kek.jp/event/213/ ณ ประเทศเกาหลีใต้ การอบบรมด้านเครื่องเร่งอนุภาคในภูมิภาคเอเชียที่จัดขึ้นที่เมืองโปฮัง ประเทศเกาหลีใต้…
Students and faculty members from PCELL participated in the second edition of the hands-on training program on chemical informatics research in Thailand.
นักศึกษาและคณาจารย์จาก PCELL เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่งานวิจัยด้านเคมีดาราศาสตร์ในประเทศไทยครั้งที่ 2 (Workshop on Science and Technology toward Astrochemistry Research in Thailand) ณ โรงแรม Flora creek เชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 23 - 27 กรกฎาคม 2566 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนี้ ได้มีการแนะนำงานวิจัยในหัวข้อ Astrochemistry ได้เรียนรู้และฝึกฝนการใช้โปรแกรม ORCA…
The students from PCELL participated in the Summer Exchange Program in Germany for the year 2023.
ในระหว่างวันที่ 18 กรกฎาคม – 7 กันยายน 2566 นักศึกษาจากห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1 ใน 4 ของตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมโปรแกรมนักศึกษาภาคฤดูร้อนเดซีประจำปี 2566 ณ สถาบันเดซี เมืองฮัมบูร์ก สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ภายใต้การสนับสนุนของสถาบันเดซี, มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) การเข้าร่วมโปรแกรมครั้งนี้ได้รับฟังการบรรยายจากนักวิจัยภายในสถาบันเดซี ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องเร่งอนุภาคและการนำแสงที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในสายงานต่างๆ นอกจากนี้ทางคณะผู้จัดยังได้พาผู้เข้าร่วมโปรแกรมเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการภายในสถาบันเดซีและสถาบัน European…
Students from PCELL participated in the Level 1 Radiation Safety Training Program (PONG 1) at the National Nuclear Technology Institute.
From July 10-14, 2023, students from the Linear Electron Accelerator Laboratory participated in the Level 1 Radiation Safety Training Program (PONG 1) at the Training Room, Particle Accelerator Building, Radiation Center, National Nuclear Technology Institute, Khlong Ha Subdistrict, Khlong Luang District, Pathum Thani Province. The training aimed to enhance skills and efficiency in handling tasks related to radiation usage from radiation generators, promote knowledge and understanding of radiation hazard prevention from equipment and linear electron accelerator systems, and qualify participants for examinations to obtain licenses as high-level radiation safety officers.